ระบบฆ่าเชื้อในน้ำเอ็นไวโรไล้ท์ออกแบบมาเพื่อฆ่าเชื้อตามสถานที่ดังนี้
- น้ำดื่มสำหรับเทศบาลและเขตที่พักอาศัยในเมือง
- น้ำสำหรับอุตสาหกรรมกลั่นเบียร์และเครื่องดื่ม
- โรงผลิตนมและโรงงานผลิตอาหาร
- น้ำในสระว่ายน้ำและสนามกอล์ฟ
- น้ำดื่มนอกชายฝั่งสำหรับสนามบินและบริษัทขนส่ง
- น้ำดื่มสำหรับร้านอาหาร, โรงแรม, โรงพยาบาล, โรงเรียน ฯลฯ


เครื่องทำงานอย่างไร?
ระบบฆ่าเชื้อในน้ำของเอ็นไวโรไล้ท์ประกอบด้วย:
- เครื่องเอ็นไวโรไล้ท์(หนึ่งเครื่องหรือมากกว่า)
- ถังเก็บแอโนไล้ท์และปั้มจ่ายยา NaCl
- ปั๊มจ่ายยาติดตั้งด้วย FAC หรือ ตัวควบคุม ORP
แอนโนไล้ท์ที่ผลิตโดยเครื่องเอ็นไวโรไล้ท์จะเก็บไว้ในถังแล้วเติมยาลงในน้ำที่เข้ามา (ภาพข้างบน) ตัวปั๊มยาจะขึ้นอยู่กับปริมาณน้ำไหลผ่านและคุณภาพ (คุณสมบัติ) ของแหล่งน้ำที่ควบคุมโดยเครื่องวัดการไหลหรือตัว FAC / ORP ที่เชื่อมต่อกับปั๊มยา
การฆ่าเชื้อทำได้อย่างไร?
สารละลาย NaCl ที่เป็นน้ำที่กระตุ้นด้วยเคมีไฟฟ้าผลิตจากเครื่องเอ็นไวโรไล้ท์ซึ่งเป็นการฆ่าเชื้อที่มีประสิทธิภาพ, ไม่มีสารพิษและไม่เป็นอันตรายเรียกว่าแอโนไล้ท์ซึ่งเป็นน้ำยาฆ่าเชื้อหลักใน EWDS
แอโนไลต์เป็นของเหลวใสที่ไม่มีสีแต่มีกลิ่นคลอรีนอยู่เล็กน้อย ซึ่งมีสารออกซิแดนท์ผสมอยู่หลายชนิดโดยมีกรดไฮโปคลอรัสเป็นหลักที่ทำให้แอโนไล้ท์สามารถฆ่าแบคทีเรียและสปอร์ได้
ลักษณะของแอโนไล้ท์จะมีดังนี้:
- มีค่า pH จาก 2.0 ถึง 8.5
- ความเข้มข้น (ทั่วไป) ของคลอรีนอยู่ที่ 100-6000 มก./ลิตร
- มีออกซิแดนท์สูงแต่มีความเข้มข้นต่ำ (ร้อยส่วนของเปอร์เซ็นต์) เป็นสารที่ไม่เป็นอันตรายต่อเคมีและคุณสมบัติของน้ำผ่านการบำบัดและไม่ก่อให้เกิดสารพิษใดๆ
หากต้องการรู้การสังเกตลักษณะการทำงานแอโนไลต์ โปรดส่ง คำถาม ไปที่บริษัทอุตสาหกรรม เอ็นไวโรไล้ท์สากล จำกัด
ประโยชน์ของระบบฆ่าเชื้อในน้ำของเอ็นไวโรไล้ท์
- เนื่องจากคลอรีนที่มีความเข้มข้นต่ำทำให้แอโนไล้ท์เจือจางในน้ำไม่ทำให้เกิดสารพิษแต่อย่างใดและไม่ก่อให้เกิดสารพิษที่เกิดจากผลพลอยได้
- แอโนไล้ท์จะแทรกซึมรูเล็กๆ ของท่อน้ำหรือวัสดุอื่น ๆ
- แอโนไล้ท์จะกำจัดไบโอฟิล์มและตะกรันออกจากระบบจ่ายน้ำ
- ท่อน้ำและอุปกรณ์ไม่มีความจำเป็นต้องล้างน้ำหลังการฆ่าเชื้อ
- แอโนไล้ท์ไม่เป็นอันตรายต่อคุณสมบัติดั้งเดิมของน้ำ
- แอโนไล้ท์กำจัดรสชาติและกลิ่นคลอรีนและช่วยในเรื่องรสชาติและกลิ่นจากสาหร่าย
- แอโนไล้ท์สามารถเก็บไว้เพื่อการใช้งานในคราวต่อไปเมื่อมีความจำเป็น
- จ่ายยาได้ง่าย
- ความปลอดภัยระดับสูง : ไม่มีสารเคมีอันตรายเกิดขึ้นหรือปะปน
การเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์
ก๊าซคลอรีน | ไฮโปนำส่ง | ไฮโปแคลเซียม | คลอมารีน | คลอรีนไดออกไซด์ | แอโนไล้ท์ | |
ประสิทธิภาพ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ |
ปลอดภัย | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✔ |
คลอรีนเจือจาง | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✘ | ✔ |
ลด TTHM / HAA5 | ✘ | ✘ | ✘ | ✔ | ✔ | ✔ |
ลดคลอรีน / โบรเมด | ✔ | ✔ | ✔ | ✔ | ✘ | ✔ |
กำจัดไบโอฟิล์ม | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✔ | ✔ |
กำจัดตะไคร่น้ำ | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✔ | ✔ |
การตกตะกอนไมโคร | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✔ | ✔ |
กำจัด T. & O. | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✔ |
บำรุงรักษาง่าย | ✔ | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✔ |
ต้นทุนการหมุนเวียนต่ำ | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✘ | ✔ |
ทำไมเทคโนโลยีฆ่าเชื้อในน้ำของเอ็นไวโรไล้ท์จึงดีกว่าคลอรีนแบบดั้งเดิม?
- แม้ว่าจะคล้ายกับคลอรีนแต่แอโนไล้ท์จะมีเอกลักษณ์และดีกว่ากว่าโซเดียมไฮโปคลอไรต์ในการทำลายสปอร์, แบคทีเรีย, ไวรัสและจุลินทรีย์ก่อโรคอื่นๆ โซเดียมไฮโปคลอไรต์มีความเข้มข้น 5% ที่มีผลเฉพาะในการฆ่าเชื้อแต่ไม่ได้ทำให้ปลอดเชื้อ โซเดียมไฮโปคลอไรต์จะไม่มีผลต่อซีสต์ (ไกอาเดีย, คริปโตสปอริเดียม)
- เชื้อโรคส่วนใหญ่โดยเฉพาะที่เกิดในน้ำจะพัฒนาความต้านทานต่อโซเดียมไฮโปคลอไรต์ตลอดเวลา แอโนไล้ท์ซึ่งเป็นสารฆ่าเชื้อที่ใช้จนมานานกว่าสิบปีได้พิสูจน์ให้เห็นว่าจุลินทรีย์ไม่ได้พัฒนาความต้านทานต่อแอโนไล้ท์เลย
- เวลาสัมผัสของแอโนไล้ท์จะต่ำกว่า
- โซเดียมไฮโปคลอไรต์จะเสื่อมคุณภาพในระหว่างการเก็บรักษาที่ยาวนานและก่อให้เกิดอันตรายจากการปล่อยก๊าซคลอรีนในระหว่างการเก็บรักษา
- แอโนไลต์เป็นสารที่ใช้ได้ดีกว่า
- ประสิทธิภาพการฆ่าเชื้อแบคทีเรียยังคงค่า pH ระหว่าง 4 กับ 9
- แอโนไล้ท์มีการกัดกร่อนน้อยที่สุดเนื่องจากมีความเข้มข้นต่ำและสามารถกำจัดองค์ประกอบที่มีการกัดกร่อนจากเดิมที่พบได้ในโซเดียมและแคลเซียมไฮโปคลอไรท์
- ปฏิกิริยาของแอโนไล้ท์และวัสดุอินทรีย์จะผลิตไตรฮาโลมีเทนประมาณครึ่งหนึ่งเหมือนกับคลอรีน
- แอโนไล้ท์จะกำจัดเกร็ดที่จับตัวอยู่และเชื้อโรคที่อยู่ตามเกร็ดและของแข็งจะละลายในน้ำทำให้ไม่มีการก่อตัวเป็นเกร็ดใหม่ ทำให้ไบโอฟิล์มถูกกำจัด ส่วนอาคารสถานที่ไม่จำเป็นต้องปิดพื้นที่ในระหว่างการทำความสะอาด
ก่อนใช้แอโนไล้ท์ หลังใช้แอโนไล้ท์
- ระบบแอโนไล้ท์ของเอ็นไวโรไล้ท์ไม่มีสารเคมีอันตรายเกี่ยวข้องหรือทำให้การบำรุงรักษาเป็นไปด้วยความยากลำบากเลย